SHARE

คัดลอกแล้ว

รัฐสภาญี่ปุ่นอนุมัติกฎหมายฉบับใหม่กำหนดให้จ่ายเงินชดเชยแก่เหยื่อชาวญี่ปุ่นประมาณ 25,000 คน ที่ถูกทางการจับทำหมัน เพื่อป้องกันไม่ให้ผลิตพลเมืองด้อยคุณภาพ  

วันที่ 25 เม.ย. 2562 สำนักข่าวต่างประเทศรายงานว่า วานนี้(24 เม.ย.62) วุฒิสภาญี่ปุ่นได้ลงมติอนุมัติกฎหมายฉบับใหม่ ด้วยเสียงสนับสนุนท่วมท้น กำหนดให้รัฐบาลจ่ายเงินชดเชยแก่ผู้ตกเป็นเหยื่อที่ถูกบังคับทำหมันรายละ 3.2 ล้านเยน หรือประมาณ 912,840 บาท ตามกฎหมายปกป้องพันธุกรรมของญี่ปุ่น

ซึ่งเป็นผู้พิการทางร่างกาย และโรคเรื้อน และพิการทางสมอง เพื่อป้องกันการเกิด “ลูกหลานด้อยคุณภาพ” โดยกฎหมายนี้เริ่มมีผลบังคับใช้เมื่อปี พ.ศ. 2491 ในขณะที่ประเทศกำลังต่อสู้กับภาวะขาดแคลนอาหาร และฟื้นฟูบูรณะจากความหายนะหลังสงครามโลกครั้งที่2 และถูกยกเลิกไปแล้วตั้งแต่ปี 2539 มีชาวญี่ปุ่นถูกจับทำหมันประมาณ 25,000 คน

ขณะที่นายกรัฐมนตรีชินโซ อาเบะ ออกแถลงการณ์ขอโทษเหยื่อ พร้อมกับให้คำมั่นว่า รัฐบาลจะกระทำทุกวิถีทาง เพื่อรับประกันว่าสังคมญี่ปุ่นจะปราศจากการเลือกปฏิบัติต่อคนพิการ

podcast

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ อ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และ นโยบายคุกกี้ และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

ตั้งค่าความเป็นส่วนตัว

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

ยอมรับทั้งหมด
จัดการความเป็นส่วนตัว
  • คุกกี้ที่จำเป็น
    เปิดใช้งานตลอด

    ประเภทของคุกกี้มีความจำเป็นสำหรับการทำงานของเว็บไซต์ เพื่อให้คุณสามารถใช้ได้อย่างเป็นปกติ และเข้าชมเว็บไซต์ คุณไม่สามารถปิดการทำงานของคุกกี้นี้ในระบบเว็บไซต์ของเราได้
    รายละเอียดคุกกี้

  • คุกกี้เพื่อการวิเคราะห์

    คุกกี้ประเภทนี้จะทำการเก็บข้อมูลการใช้งานเว็บไซต์ของคุณ เพื่อเป็นประโยชน์ในการวัดผล ปรับปรุง และพัฒนาประสบการณ์ที่ดีในการใช้งานเว็บไซต์ ถ้าหากท่านไม่ยินยอมให้เราใช้คุกกี้นี้ เราจะไม่สามารถวัดผล ปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ได้
    รายละเอียดคุกกี้

  • คุกกี้เพื่อปรับเนื้อหาให้เข้ากับกลุ่มเป้าหมาย

    คุกกี้ประเภทนี้จะเก็บข้อมูลต่าง ๆ รวมทั้งข้อมูลส่วนบุคคลเกี่ยวกับตัวคุณเพื่อเราสามารถนำมาวิเคราะห์ และนำเสนอเนื้อหา ให้ตรงกับความเหมาะสมกับความสนใจของคุณ ถ้าหากคุณไม่ยินยอมเราจะไม่สามารถนำเสนอเนื้อหาและโฆษณาได้ไม่ตรงกับความสนใจของคุณ
    รายละเอียดคุกกี้

บันทึกการตั้งค่า