การจัดสรร ส.ส. ตามสูตรที่ กกต. เลือกใช้ อาจขัดรัฐธรรมนูญ เนื่องจากมีถึง 14 พรรค ที่เมื่อได้รับการจัดสรร ส.ส. บัญชีรายชื่อแล้ว ส่งผลให้พรรคมีจำนวน ส.ส. เกินตัวเลข ส.ส. พึงมี ทำให้อาจขัดกับรัฐธรรมนูญมา
เมื่อวานนี้ (8 พ.ค.) คณะกรรมการการเลือกตั้ง (กกต.) ได้ประกาศผลการเลือกตั้ง ส.ส. แบบบัญชีรายชื่อแล้วทั้งสิ้น 149 คน โดยมีถึง 26 พรรคการเมืองที่ได้รับการจั
อย่างไรก็ตาม ยังคงมีข้อขัดแย้งอยู่ว่า สูตรการคำนวณ ส.ส. บัญชีรายชื่อที่ กกต. เลือกใช้นั้น อาจขัดกับรัฐธรรมนูญมาตรา 91 หรือไม่ เนื่องจากรัฐธรรมนูญมาตรา 91 ระบุเอาไว้ว่า การจัดสรร ส.ส. บัญชีรายชื่อ “ต้องไม่มีผลให้พรรคการเมือ
แต่จากการประกาศรับรองผล ส.ส. แบบบัญชีรายชื่อของ กกต. ปรากฏว่ามีถึง 14 พรรคการเมือง ที่เมื่อได้รับการจัดสรร ส.ส. บัญชีรายชื่อแล้ว ส่งผลให้พรรคมี ส.ส. เกินตัวเลข ส.ส. พึงมีที่คำนวณได้ โดยพรรคสุดท้ายที่ได้รับการ
ในส่วนของพรรคเพื่อไทย แม้จะได้ ส.ส. ทั้งหมด 136 คน เกินตัวเลข ส.ส. พึงมีที่คำนวณได้ 110.7373 แต่ก็ไม่ถือว่าขัดกับรัฐธรร
สถานการณ์ดังกล่าวข้างต้น สุ่มเสี่ยงต่อการขัดกับรัฐธ
ดังนั้นแล้ว สูตรการคำนวณของ กกต. จึงอาจขัดกับทั้งรัฐธรรมนูญ