รัฐบาลสหรัฐฯ ได้สืบสวนการฆ่าสังหารหมู่ชาวโรฮิงญาในรัฐยะไข่ ในช่วงปี 2016-2017 พบว่าเหตุการณ์ร้ายแรงเกิดขึ้นในวงกว้าง ทั้งการฆ่า ทรมาน ปล้น ข่มขืนอย่างทารุณ โดยไม่เว้นทั้งชาย-หญิง เด็ก คนชรา และคนพิการ ทั้งยังพบด้วยว่านอกจากทหารและตำรวจแล้ว ชาวบ้านที่ไม่ใช่ชาวโรฮิงญาก็เข้าร่วมในการฆ่าล้างชาวโรฮิงญาด้วย
ข้อมูลได้มาจากการสอบปากคำพยานที่รอดชีวิตและลี้ภัยที่ศูนย์อพยพในบังคลาเทศ โดยเจาะรายละเอียดลงในสิ่งที่คนในเหตุการณ์พบเจอตลอดช่วงเวลาที่เกิดความรุนแรง ซึ่งเกิดขึ้นตั้งแต่ต้นปี 2016 และทวีความรุนแรงสูงสุดช่วงกันยายน-ตุลาคม 2017 รายงานยังได้ระบุว่า “ข้อมูลที่รวบรวมได้จากผู้อพยพหลายคนแสดงให้เห็นว่ามีการวางแผนก่อนก่อเหตุและคิดมาเป็นอย่างดี”
แม้ว่ารายงานฉบับนี้จะไม่ได้เรียกสิ่งที่เกิดขึ้นว่าการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ แต่ก็ได้แสดงให้เห็นถึง “การกระทำอันโหดร้ายป่าเถื่อน” โดยก่อนหน้านี้ กลุ่มสมาชิกรัฐสภาอาเซียนเพื่อสิทธิมนุษยชน (ASEAN Parliamentarians for Human Rights: APHR) รวบรวมยอดผู้สูญหายจากเหตุการณ์ได้ 43,000 คน
ผู้รอดชีวิต 117 คน บอกว่าตนเห็นทารกและเด็กถูก
หลายคนบอกว่า หากทหารจับครอบครัวไหนได้ นอกจากฆ่าพ่อแม่แล้วก็จะฆ่า
มีคนเห็นชายกำลังอุ้มลูกแบเ
ชาวโรฮิงญาผู้รอดชีวิตคนหนึ
หญิงตั้งครรภ์ตกเป็นเป้าการ
นอกจากนี้แล้ว ที่ศูนย์อพยพบังคลาเทศ มีหญิงโรฮิงญาที่รอดชีวิตแค
การข่มขืนเริ่มขึ้นตั้งแต่ช่วงต้นของความขัดแย้ง โดยทหารจะเข้ามาค้นหาชายฉกร
ครั้งหนึ่ง สี่เดือนก่อนทหารจะโจมตียะไ
หลายครั้งในช่วงปี 2016-2017 ทหารจะเข้ามาในหมู่บ้านแล้ว
ผู้รอดชีวิตหนึ่งเล่าว่าเธอ
“พวกนั้นเอาผู้หญิงออกไป ให้พวกเธอนั่งตากแดดกลางทุ่
เหตุการณ์ที่รุนแรงที่สุดอย
ระหว่างการเข้าโจมตีหมู่บ้า
พยานบางคนเห็นทหารผลักคนพิก
“ทหารยิงลุงอิหม่ามที่ทุกคน
ก่อนถูกฆ่าชาวโรฮิงญาหลายคน
นอกจากนี้ รายงานพบว่ามีการสังหารหมู่
เรือที่เต็มไปด้วยชาวโรฮิงญ
“หัวคนลอยน้ำเต็มไปหมดเหมือ
เหตุการณ์ความรุนแรงเริ่มขึ้นครั้งแรกในปี 2016 ช่วงเดือนมกราคมและกันยายน-ตุลาคม หลังจากนั้นเงียบหายไป จวบจนเดือนพฤษภาคม 2017 จึงเริ่มมีเหตุการณ์ครั้งใหม่เกิดขึ้น และพุ่งรุนแรงที่สุดในเดือนสิงหาคม-กันยายน ที่การฆ่า 81% จากเหตุการณ์ทั้งหมดเกิดขึ้น
จากปากคำผู้รอดชีวิต การฆ่ากว่าครึ่ง (54%) ใช้ปืนเป็นอาวุธ รองลงมา 20% ใช้มีดหรืออีโต้ การฆ่าด้วยการเผาไฟคิดเป็น 11% และใช้วิธีทำให้จมน้ำตาย 3%
จากการฆ่าทั้งหมด รายงานพบว่าทหารเป็นผู้ปฏิบัติการหลัก 88% มีการเสริมกำลังพลทางบก ทางน้ำ และทางอากาศตลอดเวลา แต่บางครั้งก็มีตำรวจที่ไม่สามารถระบุสังกัดได้ คิดเป็น 22%)
ชาวบ้านที่ไม่ใช่โรฮิงญา (31%) ก็เข้าร่วมด้วย โดยรายงานเชื่อว่าเป็นเพราะรับข่าวสารจากทางการที่สร้างความเกลียดชังว่า ชาวโรฮิงญาเป็น “กลุ่มก่อการร้ายจากบังคลาเทศ”
“มีประชากรชาวเบงกาลีเพิ่มขึ้นทั่วรัฐยะไข่ จนคนพื้นเมืองอย่างชาวยะไข่ ชาวไดเนห์ มรอ กามี และชาวมารามากีต้องออกจากพื้นที่เดิม ชาวยะไข่ไม่ลงรอยกับพวกเบงกาลีเพราะพวกนั้นพยายามแบ่งแยกดินแดน โดยมีกองกำลังติดอาวุธหัวรุนแรงอยู่เบื้องหลังและพยายามจะก่อการในเดือนตุลาคม 2017 นี้” พลตรีอองยีวิน โฆษกกองทัพเมียนมาร์กล่าวในวันที่ 31 สิงหาคม 2017
ติดตามข่าวที่น่าสนใจได้ที่ workpointnews.com
Facebook / facebook.com/WorkpointNews/
Instagram / instagram.com/workpointnews/
Twitter / twitter.com/WorkpointShorts