SHARE

คัดลอกแล้ว

#UPDATE สถานการณ์โควิด-19 วันที่ 26 ส.ค. 2564 ยอดเสียชีวิตสมสะสม 10,314 ราย

• ติดเชื้อเพิ่ม 18,501 ราย สะสม 1,120,869 ราย
• เสียชีวิตเพิ่ม 229 ราย สะสม 10,314 ราย
• หายป่วยเพิ่ม 20,606 ราย
• กำลังรักษา 186,934 ราย

สถานการณ์โควิด-19 ทั่วโลก ณ เวลา 06:00 น.
– ผู้ป่วยยืนยัน 214,654,427 ราย
– กลับบ้านแล้ว 192,012,593 ราย
– ยังรักษาใน รพ. 18,167,088 ราย
– เสียชีวิต 4,474,746 ราย

“อว. เผยฉีดวัคซีนของไทย ณ วันที่ 25 สิงหาคม ฉีดวัคซีนแล้ว 28,197,659 โดส และทั่วโลกแล้ว 5,028 ล้านโดส ใน 203 ประเทศ/เขตปกครอง ส่วนอาเซียนฉีดแล้วทุกประเทศ รวมกันกว่า 237.43 ล้านโดส โดยจังหวัดของไทยที่ฉีดมากที่สุด คือ กรุงเทพฯ โดยฉีดวัคซีนเข็มแรกกว่า 85.6%”

วันที่ 25 ส.ค. 2564  กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) เผยข้อมูลสถิติการฉีดวัคซีนโควิด-19 ทั่วโลกแล้ว 5,028 ล้านโดส ใน 203 ประเทศ/เขตปกครอง โดยขณะนี้อัตราการฉีดล่าสุดรวมกันทั่วโลกที่ 36.4 ล้านโดสต่อวัน และมีแนวโน้มที่เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ในขณะที่สหรัฐอเมริกามีจำนวนการฉีดวัคซีนสูงที่สุดที่ 364 ล้านโดส โดยมีชาวอเมริกันกว่า 171 ล้านคนได้รับวัคซีนครบ 2 โดสแล้ว”

ด้านอาเซียนขณะนี้ทุกประเทศได้ฉีดวัคซีนป้องกันโรคโควิด-19 แล้ว มียอดรวมกันที่ประมาณ 237.43 ล้านโดส โดยสิงคโปร์ฉีดวัคซีนในสัดส่วนประชากรมากที่สุดในภูมิภาค (76.6% ของประชากร) ในขณะที่อินโดนีเซียฉีดวัคซีนในจำนวนมากที่สุดที่ 92.72 ล้านโดส สำหรับประเทศไทยข้อมูล ณ วันที่ 25 สิงหาคม 2564 ได้ฉีดวัคซีนแล้วกว่า 28,197,659 โดส โดยฉีดให้กับประชาชนมากที่สุดในสัดส่วนกว่า 55.80%

ในการฉีดวัคซีน จำนวน 5,028 ล้านโดสนี้ อว. ขอรายงานสถิติที่สำคัญ คือ

1. ข้อมูลการฉีดวัคซีนล่าสุดของประเทศไทย ณ วันที่ 25 สิงหาคม 2564
จำนวนการฉีดวัคซีนสะสม 28,197,659 คน ใน 77 จังหวัด แบ่งเป็น
-เข็มแรก 21,231,498 โดส (32.1% ของประชากร)
-เข็มสอง 6,405,537 โดส (9.7% ของประชากร)
-เข็มสาม 560,624 โดส (0.8% ของประชากร)

2. อัตราการฉีดวัคซีนตั้งแต่ 28 ก.พ.- 25 ส.ค. 64 พบว่า ประเทศไทยฉีดวัคซีนแล้ว 28,197,659 โดส ฉีดเพิ่มขึ้น 585,214 โดส (อัตราการฉีดล่าสุดเฉลี่ย 3 วันย้อนหลัง ตั้งแต่วันที่ 7 มิ.ย. 64 ซึ่งเป็นการฉีดวัคซีนวาระแห่งชาติ 511,273 โดส/วัน

3. อัตราการฉีดวัคซีน ประกอบด้วย
วัคซีน Sinovac
– เข็มที่ 1 9,554,782 โดส
– เข็มที่ 2 3,460,695 โดส
– เข็มที่ 3 0 โดส

วัคซีน AstraZeneca
– เข็มที่ 1 9,486,539 โดส
– เข็มที่ 2 2,047,695 โดส
– เข็มที่ 3 204,997 โดส

วัคซีน Sinopharm
– เข็มที่ 1 1,988,835 โดส
– เข็มที่ 2 863,906 โดส
– เข็มที่ 3 0 โดส

วัคซีน Pfizer
– เข็มที่ 1 201,342 โดส
– เข็มที่ 2 33,366 โดส
– เข็มที่ 3 355,627 โดส

4. การฉีดวัคซีนโควิด-19 แยกตามกลุ่มเป้าหมาย
– บุคลากรการแพทย์/สาธารณสุข เข็มที่1 122.4% เข็มที่2 106.6% เข็มที่3 78.7%
– เจ้าหน้าที่ด่านหน้า เข็มที่1 54.3% เข็มที่2 33.2% เข็มที่3 0%
– อสม เข็มที่1 62% เข็มที่2 29.1% เข็มที่3 0%
– ผู้ที่มีโรคเรื้อรัง 7 กลุ่มโรค เข็มที่1 37.3% เข็มที่1 7.4% เข็มที่3 0%
– ประชาชนทั่วไป เข็มที่1 41.4% เข็มที่2 13% เข็มที่3 0%
– ผู้ที่มีอายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไป เข็มที่1 40.7% เข็มที่2 4.9% เข็มที่3 0%
– หญิงตั้งครรภ์ เข็มที่1 5.5% เข็มที่2 0.4% เข็มที่3 0%
รวม เข็มที่1 42.5% เข็มที่2 12.8% เข็มที่3 1.1%

5. จังหวัดที่ฉีดวัคซีน เข็มที่ 1 เข็มที่ 2 และเข็มที่ 3 แบ่งเป็น 2 ชุดข้อมูล
กรุงเทพฯ และปริมณฑล เข็มที่1 63.5% เข็มที่2 15.9% เข็มที่3 1.1% ประกอบด้วย
– กรุงเทพฯ เข็มที่1 85.6% เข็มที่2 20.2% เข็มที่3 1.7%
– สมุทรสาคร เข็มที่1 39.9% เข็มที่2 16.7% เข็มที่3 0.5%
– นนทบุรี เข็มที่1 39.6% เข็มที่2 14.1% เข็มที่3 0.7%
– สมุทรปราการ เข็มที่1 44.4% เข็มที่2 9.7% เข็มที่3 0.6%
– ปทุมธานี เข็มที่1 43.5% เข็มที่2 10% เข็มที่3 0.5%
– นครปฐม เข็มที่1 26.5% เข็มที่2 6.7% เข็มที่3 0.7%

จังหวัดอื่น ๆ 71 จังหวัด เข็มที่1 20.6% เข็มที่2 7.1% เข็มที่3 0.7%
– ชลบุรี เข็มที่1 35.8% เข็มที่2 11.9% เข็มที่3 1%
– พระนครศรีอยุธยา เข็มที่1 26% เข็มที่2 6.6% เข็มที่3 0.4%
– สงขลา เข็มที่1 28.8% เข็มที่2 9% เข็มที่3 1.2%
– ยะลา เข็มที่1 30.5% เข็มที่2 9.4% เข็มที่3 0.7%
– ปัตตานี เข็มที่1 23.5% เข็มที่2 7.1% เข็มที่3 0.5%
– ฉะเชิงเทรา เข็มที่1 47.2% เข็มที่2 8.5% เข็มที่3 0.6%

6. ในภูมิภาคอาเซียน ได้ฉีดวัคซีนแล้วครบ 10 ประเทศ รวมจำนวน 237,439,416 โดส ได้แก่
1. อินโดนีเซีย จำนวน 92,725,354 โดส (21.5%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ Sinovac, AstraZeneca, Moderna และ Sinopharm
2. มาเลเซีย จำนวน 32,212,527 โดส (57%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ Pfizer, AstraZeneca และ Sinovac
3. ฟิลิปปินส์ จำนวน 30,693,019 โดส (15.8%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ Sinovac, Pfizer, Sputnik V, Moderna, J&J และ AstraZeneca
4. ไทย จำนวน 28,197,659 โดส (32.1%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ Pfizer, Sinovac, AstraZeneca และ Sinopharm
5. กัมพูชา จำนวน 18,542,609 โดส (58.9%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ Sinopharm, AstraZeneca, J&J และ Sinovac
6. เวียดนาม จำนวน 17,647,353 โดส (16.1%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ AstraZeneca, Pfizer, Moderna และ Sinopharm
7. สิงคโปร์ จำนวน 8,759,403 โดส (76.6%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ Pfizer, Moderna และ Sinovac
8. พม่า จำนวน 4,456,857 โดส (4.9* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ AstraZeneca และ Sinopharm
9. ลาว จำนวน 3,937,503 โดส (30.4%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ Sinopharm, Sputnik V, Pfizer, J&J, Sinovac และ AstraZeneca
10. บรูไน จำนวน 267,132 โดส (43.9%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ AstraZeneca และ Sinopharm
* คำนวณจากจำนวนฉีด/จำนวนประชากร/2 เหมือนกันทุกประเทศ

7. จำนวนการฉีดวัคซีนแยกตามภูมิภาค
1. เอเชียและตะวันออกกลาง 67.25%
2. ยุโรป 12.97%
3. อเมริกาเหนือ 10.82%
4. ลาตินอเมริกาและแคริบเบียน 6.69%
5. แอฟริกา 1.84%
6. โอเชียเนีย 0.43%

8. ประเทศที่ฉีดวัคซีนแล้วมากที่สุด 5 ประเทศลำดับแรกที่ฉีดวัคซีนมากกว่า 100 ล้านโดส รวมกันเกือบ 70% ของปริมาณการฉีดวัคซีนทั่วโลก
1. จีน จำนวน 1,961.89 ล้านโดส (70.1% ของจำนวนการฉีดทั่วโลก)
2. อินเดีย จำนวน 589 ล้านโดส (21.5%)
3. สหรัฐอเมริกา จำนวน 363.92 ล้านโดส (56.9%)
4. บราซิล จำนวน 179.73 ล้านโดส (43.8%)
5. ญี่ปุ่น จำนวน 119.82 ล้านโดส (47.5%)

9. ประเทศที่ฉีดวัคซีนครอบคลุมประชากรมากที่สุด มี 10 ประเทศที่ฉีดวัคซีนให้กับประชากรอย่างน้อย 25% แล้ว ได้แก่ (เฉพาะประเทศที่มีประชากรมากกว่า 500,000 คน)
1. มัลดีฟส์ (89.7% ของประชากร) (ฉีดวัคซีนของ AstraZeneca/Oxford, Pfizer/BioNTech และ Sinopharm)
2. บาห์เรน (82.8%) (ฉีดวัคซีนของ AstraZeneca/Oxford, Pfizer/BioNTech, Sinopharm และ Gamaley)
3. สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ (82.7%) (ฉีดวัคซีนของ AstraZeneca/Oxford, Pfizer/BioNTech, Sinopharm และ Gamaleya)
4. กาตาร์ (76.7%) (ฉีดวัคซีนของ Pfizer/BioNTech และ Moderna)
5. สิงคโปร์ (76.6%) (ฉีดวัคซีนของ Pfizer/BioNTech Moderna และ Sinovac)
6. อุรุกวัย (76.4%) (ฉีดวัคซีนของ AstraZeneca/Oxford, Pfizer/BioNTech และ Sinovac)
7. ชิลี (73.2%) (ฉีดวัคซีนของ AstraZeneca/Oxford, CanSino, Pfizer/BioNTech และ Sinovac)
8. เดนมาร์ก (72.7%) (ฉีดวัคซีนของ Moderna, Pfizer/BioNTech และ J&J)
9. อิสราเอล (71.9%) (ฉีดวัคซีนของ Moderna และ Pfizer/BioNTech)
10. แคนาดา (70.1%) (ฉีดวัคซีนของ Pfizer/BioNTech และ Moderna)

แหล่งข้อมูล Bloomberg Vaccine Tracker, กระทรวงสาธารณสุข ประมวลข้อมูลโดย กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.)

podcast

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ อ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และ นโยบายคุกกี้ และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

ตั้งค่าความเป็นส่วนตัว

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

ยอมรับทั้งหมด
จัดการความเป็นส่วนตัว
  • คุกกี้ที่จำเป็น
    เปิดใช้งานตลอด

    ประเภทของคุกกี้มีความจำเป็นสำหรับการทำงานของเว็บไซต์ เพื่อให้คุณสามารถใช้ได้อย่างเป็นปกติ และเข้าชมเว็บไซต์ คุณไม่สามารถปิดการทำงานของคุกกี้นี้ในระบบเว็บไซต์ของเราได้
    รายละเอียดคุกกี้

  • คุกกี้เพื่อการวิเคราะห์

    คุกกี้ประเภทนี้จะทำการเก็บข้อมูลการใช้งานเว็บไซต์ของคุณ เพื่อเป็นประโยชน์ในการวัดผล ปรับปรุง และพัฒนาประสบการณ์ที่ดีในการใช้งานเว็บไซต์ ถ้าหากท่านไม่ยินยอมให้เราใช้คุกกี้นี้ เราจะไม่สามารถวัดผล ปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ได้
    รายละเอียดคุกกี้

  • คุกกี้เพื่อปรับเนื้อหาให้เข้ากับกลุ่มเป้าหมาย

    คุกกี้ประเภทนี้จะเก็บข้อมูลต่าง ๆ รวมทั้งข้อมูลส่วนบุคคลเกี่ยวกับตัวคุณเพื่อเราสามารถนำมาวิเคราะห์ และนำเสนอเนื้อหา ให้ตรงกับความเหมาะสมกับความสนใจของคุณ ถ้าหากคุณไม่ยินยอมเราจะไม่สามารถนำเสนอเนื้อหาและโฆษณาได้ไม่ตรงกับความสนใจของคุณ
    รายละเอียดคุกกี้

บันทึกการตั้งค่า